ดาวน์โหลดฟรี มิลินทปัญหา เรื่องเกิดขึ้นหลังจากพุทธปรินิพพาน ประมาณ 500 ปี





ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ที่นำมาให้ดาวน์โหลด http://grongitum.blogspot.com 

ดาวน์โหลดฟรี บทสวดมนต์ ทำวัตรเช้าแปล MP3







ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ที่นำมาให้ดาวน์โหลด http://grongitum.blogspot.com

ดาวน์โหลดฟรี คู่มือมนุษย์ MP3 ท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ.







ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ที่นำมาให้ดาวน์โหลด http://grongitum.blogspot.com

มิลินทปัญหา คู่มือมนุษย์ บทสวด ทำวัตรแปล สวนโมกข์ และอื่นๆ ดาวน์โหลดฟรี แจกฟรี






ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ที่นำมาให้ดาวน์โหลด http://grongitum.blogspot.com

โอวาทปาฏิโมกข์ วันมาฆบูชา ตรงกับวัน ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ หรือ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ในปีอธิกมาส


บทขัดโอวาทปาฏิโมกข์

สัตตันนัง ภะคะวันตานัง 
สัมพุทธานัง มะเหสินัง

โอวาทะปาฏิโมกขัสสะ 
อุทเทสัตเตนะ ทัสสิตา

มะหาปะทานะสุตตันเต 
ติสโส คาถาติ โน สุตัง

ตีหิ สิกขาหิ สังขิตตัง 
ยาสุ พุทธานะ สาสะนัง

ตาสัมปะกาสะกัง ธัมมะ 
ปะริยายัง ภะณามะ เส.

โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาโฐ

อุททิฏฐัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา
อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ โอวาทะปาฏิโมกขัง ตีหิ คาถาหิ


ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา
นิพพานัง ปะระนัง วะทันติ พุทธา
นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี
สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต 


สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง กุสะลัสสูปะสัมปะทา
สะจิตตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธานะ สาสะนัง


อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร
มัตตัญญตา จะ ภัตตัสมิง ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง
อะธิจิตเต จะ อาโยโค เอตัง พุทธานะ สาสะนันติ


อะเนกะปะริยเยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา
ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง
สะมาธิ สัมมะทักขาโต ปัญญา สัมมะทักขาตา


กะถัญจะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. อุปะริเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา อิธะ อะริยะสาวะโก
ปาณาติปาตา ปะฏิวิระโต โหติ อะทินนาทานา ปะฏิวิระโต โหติ
กาเมสุ มิจฉาจารา ปะฏิวิระโต โหติ มุสาวาทา ปะฏิวิระโต โหติ
สุราเมระยะมัชชัปปะมาทัฏฐานา ปะฏิวิระโต โหตีติ. เอวัง โข
เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะตา กะถัญจะ
อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. อิธะ
ภิกขุ สีละวา โหติ ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุโต วิหะระติ
อาจาระโคจะระสัมปันโน อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี
สะมาทายะ สิกขะติ สิกขาปะเทสูติ เอวัง โข อุปะริเมนะ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมะทักขาตัง ภะคะวะตา.


กะถัญจะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อุปะริเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ
เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ
อะริยะสาวะโก โวสสัคคารัมมะณัง กะริตวา ละภะติ สะมาธิง
ละภะติ จิตตัสเสกัคคะตันติ. เอวัง โข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ
สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ
ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ
วิวิจเจวะ กาเมหิ วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ สะวิตักกัง สะวิจารัง
วิเวกะชัมปีติสุขัง ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ วิตักกะ-
วิจารานัง วูปะสะมา อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส เอโกทิภาวัง
อะวิตักกัง อะวิจารัง สะมาธิชัมปีติสุขัง ทุติยัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ
วิหะระติ ปีติยา จะ วิราคา อุเปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ
สัมปะชาโน สุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสังเวเทติ ยันตัง อะริยา
อาจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารีติ ตะติยัง ฌานัง
อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ. สุขัสสะ จะ ปะหานา ทุกขัสสะ จะ
ปะหานา ปุพเพ วะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา
อะทุกขะมะสุขัง อุเปกขาสะติปาริสุทธิง จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ
วิหะระตีติ. เอวัง โข อุปะริะเมนะ ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต
ภะคะวะตา.


กะถัญจะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะปิ
ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อุปะริเมนะปิ 
ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. กะถัญจะ
เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อิธะ
อะริยะสาวะโก ปัญญะวา โหติ อุทะยัตถะคามินิยา ปัญญายะ
สะมันนาคะโค อะริยายะ นิพเพธิกายะ สัมมา ทุกขักขะยะคามินิยาติ.
เอวัง โข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา
ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา
ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ อิทัง ทุกขันติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยัง
ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยัง ทุกขะนิโรโธติ
ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทาติ
ยะถาภูตัง ปะชานาติ. เอวัง โข อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา
สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา.


สีละปะริภาวิโต สะมาธิ มะหัปผะโล โหติ มะหานิสังโส
สะมาธิปะริภาวิตา ปัญญา มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา
ปัญญาปะริภาวิตัง จิตตัง สัมมะเทวะ อาสะเวหิ วิมุจจะติ. เสยยะถีทัง.
กามาสะวา ภะวาสะวา อะวิชชาสะวา. ภาสิตา โข ปะนะ ภะคะวะตา
ปะรินิพพานะสะมะเย อะยัง ปัจฉิมะวาจา หันทะทานิ ภิกขะเว
อามันตะยามิ โว วะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ
สัมปาเทถาติ. ภาสิตัญจิทัง ภะคะวะตา เสยยะถาปิ ภิกขะเว
ยานิ กานิจิ ชังคะลานัง ปาณานัง ปะทะชาตานิ สัพพานิ ตานิ
หัตถิปะเท สะโมธานัง คัจฉันติ หัตถิปะทัง เตสัง อัคคะมักขายะติ
ยะทิทัง มะหันตัตเตนะ. เอวะเมวะ โข ภิกขะเว เย เกจิ กุสะลา 
ธัมมา สัพเพ เต อัปปะมาทะมูละกา อัปปะมาทะสะโมสะระณา
อัปปะมาโท เตสัง อัคคะมัคขายะตีติ. ตัสมาติหัมเหหิ สิกขิตัพพัง
ติพพาเปกขา ภะวิสสามะ อะธิสีละสิกขาสะมาทาเน อะธิจิตตะสิก-
ขาสะมาทาเน อะธิปัญญาสิกขาสะมาทาน อัปปะมาเทนะ สัมปาเทส-
สามาติ. เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง





แนวทางการปฏิบัติ 8 อย่าง บทสวดอริยมรรคแปล ทาง 8 สาย

อริยมรรค8 แปล

อะยะเมวะ อะริโย อัฎฐังคิโก มัคโค 
หนทางนี้แลเป็นหนทางอันประเสริฐ ซึ่งประกอบด้วยองค์แปด 

เสยยะถีทัง ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ

สัมมาทิฎฐิ ความเห็นชอบ 
สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ 
สัมมาวาจา การพูดจาชอบ 
สัมมากัมมันโต การทำการงานชอบ 
สัมมาอาชีโว การเลี้ยงชีวิตชอบ 
สัมมาวายาโม ความพากเพียรชอบ 
สัมมาสะติ ความระลึกชอบ 
สัมมาสะมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ


กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาทิฎฐิ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเห็นชอบเป็นอย่างไรเล่า? 
ยัง โข ภิกขะเว ทุกเข ญาณัง 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความรู้อันใด เป็นความรู้ในทุกข์ 
ทุกขะสะมุทะเย ญาณัง 
เป็นความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ 
ทุกขะนิโรเธ ญาณัง 
เป็นความรู้ในความดับแห่งทุกข์ 
ทุกขะนิโรธะคามินิยา ปะฏิปะทายะ ญาณัง 
เป็นความรู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับแห่งทุกข์ 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาทิฎฐิ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า ความเห็นชอบ



กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความดำริ(ความคิด)ชอบ เป็นอย่างไรเล่า? 
เนกขัมมะสังกัปโป 
ความดำริในการออกจากกาม 
อะพยาปาทะสังกัปโป 
ความดำริในการไม่มุ่งร้าย 
อะวิหิงสาสังกัปโป 
ความดำริในการไม่เบียดเบียน 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า ความดำริชอบ



กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาวาจา 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย การพูดจาชอบ เป็นอย่างไรเล่า? 
มุสาวาทา เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดไม่จริง 
ปิสุณายะ วาจายะ เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดส่อเสียด 
ผะรุสายะ วาจายะ เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดหยาบ 
สัมผัปปะลาปา เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวาจา 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า การพูดจาชอบ








กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การทำการงานชอบ เป็นอย่างไรเล่า? 
ปาณาติปาตา เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการฆ่า 
อะทินนาทานา เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว 
กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี 
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า การทำการงานชอบ



กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การเลี้ยงชีวิตชอบ เป็นอย่างไรเล่า? 
อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาวกของพระอริยเจ้า ในธรรมวินัยนี้ 
มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ 
ละการเลี้ยงชีวิตที่ผิดเสีย 
สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ 
ย่อมสำเร็จความเป็นอยู่ด้วยการเลี้ยงชีวิตที่ชอบ 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า การเลี้ยงชีวิตชอบ



กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาวายาโม 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความพากเพียรชอบเป็นอย่างไรเล่า? 
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 
อะนุปปันนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนุปปาทายะ, 
ฉันทัง ชะเนติ, 
วายะมะติ, 
วิริยัง อาระภะติ, 
จิตตัง ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ 
ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น 
ย่อมพยายาม 
ปรารภความเพียร 
ประคองตั้งจิตไว้ 
เพื่อจะยังอกุศลธรรมอันเป็นบาปที่ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น 
อุปปันนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง ปะหานายะ 
ฉันทัง ชะเนติ 
วายะมะติ 
วิริยัง อาระภะติ 
จิตตัง ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ 
ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น 
ย่อมพยาบาม ปรารภความเพียร 
ประคองตั้งจิตไว้ 
เพื่อจะละอกุศลธรรม อันเป็นบาปที่เกิดขึ้นแล้ว 
อนุปปันนานัง 
กุสะลานัง ธัมมานัง อุปปาทายะ 
ฉันทัง ชะเนติ 
วายะมะติ 
วิริยัง อาระภะติ 
จิตตัง ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ 
ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น 
ย่อมพยายาม ปรารภความเพียร 
ประคองตั้งจิตไว้ 
เพื่อจะยังกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น 
อุปปันนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง ฐิติยา 
อะสัมโมสายะ 
ภิยโยภาวายะ 
เวปุลลายะ 
ภาวะนายะ 
ปาริปูริยา 
แนทัง ชะเนติ 
วายะมะติ 
วิริยัง อาระภะติ 
จิตตัง ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ 
ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น 
ย่อมพยายาม 
ปรารภความเพียร 
ประคองตั้งจิตไว้ 
เพื่อจะยังกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น 
อุปปันนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง ฐิติยา 
อะสัมโมสายะ 
ภิยโยภาวายะ 
เวปุลลายะ 
ภาวะนายะ 
ปาริปูริยา 
ฉันทัง ชะเนติ 
วายะมะติ 
วิริยัง อาระภะติ 
จิตตัง ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ 
ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น 
ย่อมพยายาม 
ปรารภความเพียร 
ประคองตั้งจิตไว้ 
เพื่อความตั้งอยู่ 
ความไม่เลอะเลือน 
ความงอกงามยิ่งขึ้น 
ความไพบูลย์ 
ความเจริญ 
ความเต็มรอบ 
แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวายาโม 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า ความเพียรชอบ




กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาสะติ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความระลึกชอบ เป็นอย่างไรเล่า? 
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ 
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา 
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
มีความเพียรเครื่องเผากิเลส 
มีสัมปชัญญะ มีสติ 
ถอนความพอใจและความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ 
เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ 
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา 
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
มีความเพียรเครื่องเผากิเลส 
มีสัมปชัญญะ มีสติ 
ถอนความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ 
จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ 
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา 
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
มีความเพียรเครื่องเผากิเลส 
มีสัมปชัญญะ มีสติ 
ถอนความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ 
ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ 
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา 
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
มีความเพียรเครื่องเผากิเลส 
มีสัมปชัญญะ มีสติ 
ถอนความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะติ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรากล่าวว่า ความระลึกชอบ


กะตะโม จะภิกขะเว สัมมาสะมาธิ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 
ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไรเล่า? 
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 
วิวิจเจวะ กาเมหิ 
สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย 
วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ 
สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย 
สะวิตักกัง สะวิจารัง 
วิเวกะชัง ปีติสุขัง ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ 
เข้าถึงปฐมฌาน 
ประกอบด้วยวิตกวิจาร 
มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ 
วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา 
เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง 
อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส 
เอโกทิภาวัง 
อะวิตักกัง อะวิจารัง 
สะมาธิชัง ปีติสุขัง ทุติยัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ 
เข้าถึงทุติยฌาน 
เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน 
ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น 
ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร 
มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ 
ปีติยา จะ วิราคา 
อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ 
อุเปกขะโก จะ วิหะระติ 
สะโต จะ สัมปะชาโน 
ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา 
มีสติและสัมปชัญญะ 
สุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสังเวเทติ 
และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย 
ยันตัง อะริยา อาจิกขันติ 
อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารี ติ 
ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า 
“เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ 
ตะติยัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ 
เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ 
สุขัสสะ จะ ปะหานา 
เพราะละสุขเสียได้ 
ทุกขัสสะ จะ ปะหานา 
และเพราะละทุกข์เสียได้ 
ปุพเพวะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา 
เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน 
อะทุกขะมะสุขัง อุเปกขาสะติปาริสุทธิง 
จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ 
เข้าถึงจตุตฌาน 
ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข 
มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ 
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะมาธิ 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 
อันนี้เรากล่าวว่า ความตั้งใจมั่นชอบ



"มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ 
อันนี้เรากล่าวว่า ความตั้งใจมั่นชอบ" 
"มีสัมปชัญญะ มีสติ 
ถอนความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ " 

มรรคมีองค์แปด หรือทางเดินทั้ง 8 เพื่อตัดทอนภพชาติ 
ไม่ใช่ เพื่อสวย เพื่อหล่อ เพื่อดี เพื่อเก่ง เพื่อไปเป็นเทวดา หรือพรหม 

ที่รู้แล้วปล่อยวางได้นั้น เพราะมีปัญญา รู้แล้วว่า ทุกสิ่งที่แล ที่เห็น 
ทั้งรูป (กาย) และนาม(ความคิด) ล้วนเป็นสังขาร 
เกิดแล้วก็ดับ เกิด ๆ ดับ ๆ จะยึดเอามาเป็นตัว เป็นของตัว เอามาเป็นที่พึ่งไม่ได้ 
จึงวางเฉยได้
สภาวะที่จิตสามารถปล่อยวางได้นี่เอง เรียกว่า "ปัญญา" 
ท่านจึงสรุปรวมมรรคมีองค์แปด ลงได้ 3 องค์คือ คือ ศีล สมาธิ และ ปัญญา 

ส่วน ศีลนั้น ไม่ต้องจงใจรักษา หากมีความตั้งมั่นชอบ(สัมมาสมาธิ) คอยดูคอยรู้ 
ระลึกชอบ(สัมมาสติ) ก็มีศีลเอง ท่านเรียกศีลแบบนี้ว่า "อินทรียสังวรณ์" 
คือหากใจไม่ผิด กายวาจาก็ไม่ผิด มีกี่ข้อ ก็รักษาได้หมด
เป็นศีลที่ไม่ต้องอาราธนา หรือ ขอใคร มีสติเมื่อใด ก็มีศีลเมื่อนั้น 
ดังที่คำกล่าวว่า "สติ คุ้มครองรักษาศีล ศีล คุ้มครองรักษาผู้ปฏิบัติ" 

ฝึกสติให้มีที่ตั้ง ฝึกที่ตั้งให้สติ ด้วยสติปัฏฐาน4 ผลานิสงค์ที่ยิ่งใหญ่จากการฝึกสติ


เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา กุรูสุ วิหะระติ
กัมมาสะธัมมัง นามะ กุรูนัง นิคะโม ตัต๎ระ โข ภะคะวา
ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต
ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ


เอกายะโน อะยัง ภิกขะเว มัคโค สัมมะทักขาโต 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางไปอันเอก (เป็นที่ไปของบุคคลผู้เดียว เป็นที่ไปแห่งเดียว) 

สัตตานัง วิสุทธิยา 
เพื่อความบริสุทธิ์ หมดจดของสัตว์ทั้งหลาย 

โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ 
เพื่อความก้าวล่วง ซึ่งความโศก และความร่ำไรรำพัน 

ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ 
เพื่อความดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส (ความเสียใจ ทุกข์ใจ) 

ญายัสสะ อธิคะมายะ 
เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรู้ (ธรรมที่ถูก คือ อริยมรรค) 

นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ 
เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง 

ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานา 
ทางนี้ คือ สติปัฏฐาน (ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ) มี 4 อย่าง 

กะตะเม จัตตาโรฯ 
ก็สติปัฏฐาน 4 อย่างนั้น คืออะไรบ้าง 

อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนือง ๆ อยู่ 

อาตาปี สัมปะชาโน สติมา 
มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน มีสัมปชัญญะ คือ ความรู้สึกตัว มีสติ คือ ความระลึกได้ 

วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
พึงนำอภิชฌา คือ ความยินดี และโทมนัส คือ ความยินร้าย ในโลกเสียให้พินาศ 

เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
เธอย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนือง ๆ อยู่ 

อาตาปี สัมปะชาโน สติมา 
มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน มีสัมปชัญญะ คือ ความรู้สึกตัว มีสติ คือ ความระลึกได้ 

วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
พึงนำอภิชฌา คือ ความยินดี และโทมนัส คือ ความยินร้าย ในโลกเสียให้พินาศ 

จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
เธอย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเนือง ๆ อยู่ 

อาตาปี สัมปะชาโน สติมา 
มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน มีสัมปชัญญะ คือ ความรู้สึกตัว มีสติ คือ ความระลึกได้ 

วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
พึงนำอภิชฌา คือ ความยินดี และโทมนัส คือ ความยินร้าย ในโลกเสียให้พินาศ 

ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
เธอย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนือง ๆ อยู่ 

อาตาปี สัมปะชาโน สติมา 
มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน มีสัมปชัญญะ คือ ความรู้สึกตัว มีสติ คือ ความระลึกได้ 

วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง 
พึงนำอภิชฌา คือ ความยินดี และโทมนัส คือ ความยินร้าย ในโลกเสียให้พินาศ 



* กะถัญจะ ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุย่อมพิจารณา เห็นกายในกายเนือง ๆ อยู่เป็นอย่างไรเล่า 

อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย อันเป็นภายในบ้าง 

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย อันเป็นภายนอกบ้าง 

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในภายนอกบ้าง 

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง 

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไปในกายบ้าง 

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง 

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ 
ก็หรือการระลึกว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น 

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ 
แต่เพียงสักว่าเป็นที่ให้เกิดความหยั่งรู้ (ญาณ) แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก (สติ) เท่านั้น 

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ 
ที่แท้แล้วตัณหาและทิฏฐิย่อมไม่อาจอาศัยเกิดที่ใจของเธอได้ เธอย่อมไม่ยึดถืออะไร ๆ ในโลกด้วย 

เอวัง โข ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ 
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนือง ๆ อยู่ เป็นดังนี้ 


* กะถัญจะ ภิกขุ เวทนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุย่อมพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนาเนือง ๆ อยู่เป็นอย่างไรเล่า 

อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา เวทนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา อันเป็นภายในบ้าง 

พะหิทธา วา เวทนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอันเป็นภายนอกบ้าง 

อัชฌัตตะพะหิทธา วา เวทนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งภายในภายนอกบ้าง 

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา เวทะนาสุ วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้นของเวทนา (ความรู้สึก) บ้าง 

วะยะธัมมานุปัสสี วา เวทนาสุ วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไปของเวทนา (ความรู้สึก) บ้าง 

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา เวทนาสุ วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปของเวทนาบ้าง 

อัตถิ เวทะนาติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ 
ก็หรือการระลึกว่า ความรู้สึก (เวทนา) มีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น 

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ 
แต่เพียงสักว่าเป็นที่ให้เกิดความหยั่งรู้ (ญาณ) แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก (สติ) เท่านั้น 

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ 
ที่แท้แล้วตัณหาและทิฏฐิย่อมไม่อาจอาศัยเกิดที่ใจของเธอได้ เธอย่อมไม่ยึดถืออะไร ๆ ในโลกด้วย 

เอวัง โข ภิกขุ เวทนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ 
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนือง ๆ อยู่ เป็นดังนี้ 

* กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุย่อมพิจารณา เห็นจิตในจิตเนือง ๆ อยู่เป็นอย่างไรเล่า 

อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิต อันเป็นภายในบ้าง 

พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตอันเป็นภายนอกบ้าง 

อัชฌัตตะพะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิต ทั้งภายในภายนอกบ้าง 

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา จิตัสมิง วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง 

วะยะธัมมานุปัสสี วา จิตัสมิง วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อม-ดับไปของจิตบ้าง 

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา จิตัสมิง วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือทั้งความเกิดขึ้นและความดับไปของเวทนาบ้าง 

อัตถิ จิตตันติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ 
ก็หรือสติการระลึกว่าจิตมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น 

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ 
แต่เพียงสักว่าเป็นที่ให้เกิดความหยั่งรู้ (ญาณ) แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก (สติ) เท่านั้น 

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ 
ที่แท้แล้วตัณหาและทิฏฐิย่อมไม่อาจอาศัยเกิดที่ใจของเธอได้ เธอย่อมไม่ยึดถืออะไร ๆ ในโลกด้วย 

เอวัง โข ภิกขุ จิเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ 
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเนือง ๆ อยู่ เป็นดังนี้ 


* กะถัญจะ ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุย่อมพิจารณา เห็นธรรมในธรรมเนือง ๆ อยู่เป็นอย่างไรเล่า 

อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม อันเป็นภายในบ้าง 

พะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม อันเป็นภายนอกบ้าง 

อัชฌัตตะพะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม อันเป็นทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง 

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้นของธรรมบ้าง 

วะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อม-ดับไปของธรรมบ้าง 

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ 
ย่อมพิจารณาเห็นธรรม คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อม-ดับไปของธรรมบ้าง 

อัตถิ ธัมมาติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ 
ก็หรือสติการระลึกว่าธรรมมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น 

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ 
แต่เพียงสักว่าเป็นที่ให้เกิดความหยั่งรู้ (ญาณ) แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก (สติ) เท่านั้น 

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ 
ที่แท้แล้วตัณหาและทิฏฐิย่อมไม่อาจอาศัยเกิดที่ใจของเธอได้ เธอย่อมไม่ยึดถืออะไร ๆ ในโลกด้วย 

เอวัง โข ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ 
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนือง ๆ อยู่ เป็นดังนี้ 


* อะยัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตาสัมมาสัมพุทเธนะ 
อันนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้รู้ ผู้เป็นอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ตรัสไว้ว่า 

เอกายะโน มัคโค สัมมะทักขาโต 
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางสายเดียว เป็นทางไปอันเอก 

สัตตานัง วิสุทธิยา 
เพื่อความบริสุทธิ์หมดจด ของสัตว์ทั้งหลาย 

โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ 
เพื่อความก้าวล่วงเสีย ซึ่งความโศกและความร่ำไรรำพัน 

ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ 
เพื่อความดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส (เสียใจ) 

ญายัสสะ อะธิคะมายะ 
เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรู้ (อริยมรรค-อริยผล) 

นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ 
เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง 

ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานาติ 
ทางนี้คือ สติปัฏฐาน 4 (ฐานที่ตั้งแห่งการระลึกรู้ คือ สติ มี 4 อย่าง) 


* เอกายะนัง ชาติชะยันตะทัสสี 
พระพุทธเจ้าผู้ทรงมีปกติเห็นที่สุดแห่งการเวียนเกิดเวียนตาย 

มัคคัง ปะชานาติ หิตานุกัมปิ 
ผู้ทรงมีความอนุเคราะห์เกื้อกูล ทรงรู้แจ้งชัดทางอันเอกที่มุ่งสู่ความพ้นทุกข์ 

เอเตนะ มัคเคนะ ตะริงสุ ปุพเพ 
พระพุทธเจ้าทั้งหลายในปางก่อน ก็ทรงข้ามพ้นห้วงทุกข์ไปแล้วด้วยทางนี้ 

ตะริสสะเร เจวะ ตะรันติ โจฆันติ 
ต่อไปในอนาคต และแม้ปัจจุบันนี้ก็ทรงข้ามพ้นห้วงทุกข์ไปด้วยทางนี้เช่นกัน.